หมวดหมู่ผลงาน

สำนัก

ประเภทผลงาน

เจ้าของลิขสิทธิ์

ชื่อผลงานทางวิชาการ

โครงสร้างของสังคมพืชตามริมฝั่งแม่น้ำโขง ประเทศไทย

ชื่ออื่นๆ

Structure of Plant Community along the Mekong River, Thailand

ประเภทผลงาน

บทคัดย่อ

การศึกษาโครงสร้างของสังคมพืชตามริมฝั่งแม่น้าโขง ประเทศไทย ดาเนินการศึกษาในปี พ.ศ. 2553โดย ทาการศึกษารวมทั้งหมด 28 จุดสารวจ (ภาคเหนือ3จุด และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ25จุด) แต่ละจุดสำรวจทำการวางแปลงตัวอย่างแบบแถบ (belttransect)โดยใช้แปลงตัวอย่างย่อยขนาด 10x10 ตารางเมตรวางต่อเนื่องงกันจากตลิ่งไปจนจรดน้ำรวมจำนวนแปลงตัวอย่างย่อยทั้งหมด293แปลงการศึกษาครั้งน้ีพบพรรณไม้ทั้งหมด (รวมทั้งไม้ต้น และไม้พื้นล่าง) 155ชนิด119สกลุ48วงศ์ในที่มีพรรณไม้ที่มีสถานะทางการอนุรกัษ์ตามการจัดสถานภาพของ Pooma et al. (2005)เป็น พืชที่มีความเสี่ยงต่อการสูญพันธ์ุ จำนวน 2 ชนิดได้แก่ นาวน้า (Artabotrysspinosus) และหางนาค (Sauropus heteroblastus) ผลการวิเคราะห์ค่าความสาคัญ (Importancevalues) ของพรรณไม้ต้นพบว่าไม้ต้นมีค่าความสำคัญเด่นเป็น 3 อันดับแรกคือ มะเดื่ออุทมุพร (Ficusracemosa) ตะแบกโขง(Lagerstroemiasp) และตะขบฝรั่ง (Muntingiacalabura) โดยมีค่าความสาคญัเท่ากับ 42.49, 20.75 และ19.76เปอร์เซนต์ตามลาดบัส่วนลูกไมข้องไม้ต้นที่มีค่าความสำคัญเด่นเป็น3 อันดับแรกกคือ กระถิ่นยักษ์ (Leucaenaleucocephala) กุ่มน้ำ (Cratevamagna) และจิกน้า(Barringtoniaacutangula)โดยมี ค่าความสาคัญเท่ากับ 21.84,19.27 และ 16.64 เปอร์เซนต์ตามลาดบั และกล้าไม้ของไม้ต้นท่ีมีค่าความสำคัญเด่นเป็น3 อันดับแรกคือกระถินยักษ์ข่อย (Streblusasper) และตะขบฝรั่งโดยมีค่าความสาคัญเท่ากับ 72.31, 22.92 และ 14.41 เปอร์เซนต์ตามลำดับสามารถจำแนกสภาพพื้นป่าของสังคมพืชริมน้าออกได้เป็น 6 ประเภทคือ 1)หาดทราย 2)หาดหิน 3) หาดทรายสลับโขดหิน 4) โขดหินหรือลานหิน 5) ตลิ่งดินปนทรายที่ไม่มีหินและ 6)ตลิ่งคอนกรีตและตลิ่งหินก้อนโดย ตลิ่งดินปนทรายที่ไม่มีหินเป็นประเภทของพื้นป่าที่พบได้มากที่สุดตลอดแนวแม่น้าโขงที่ไหผ่านประเทศไทย

ปีที่

3

ฉบับที่

2

หน้า

46-55

สำนักพิมพ์

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์

ปีที่พิมพ์

แหล่งทรัพยากรต้นฉบับ

เงื่อนไขการใช้ข้อมูล

Copyright

ไฟล์ต้นฉบับ